วารสาร

ความสัมพันธ์ของ Alberta Stroke Program Early CT-Score (ASPECTS) กับการพยากรณ์ประสิทธิผลการรักษาโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันชนิด Middle Cerebral Artery ด้วยยาละลายลิ่มเลือด Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) ทางหลอดเลือดดำที่โรงพยาบาลอุดรธานี
Original Article

ความสัมพันธ์ของ Alberta Stroke Program Early CT-Score (ASPECTS) กับการพยากรณ์ประสิทธิผลการรักษาโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันชนิด Middle Cerebral Artery ด้วยยาละลายลิ่มเลือด Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) ทางหลอดเลือดดำที่โรงพยาบาลอุดรธานี

สตรีรัตน์ จันทะศรี, ศรินทรา ตั้งพานิชดี, ศุภกร ปานวัฒน์วาณิช, สมศักดิ์ เทียมเก่า

โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับ 2 ในกลุ่มผู้สูงอายุ รองจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ในผู้ป่วยที่รอดชีวิตจะมีความพิการ (disability) ระยะยาว จึงเป็นสาเหตุสำคัญของการสูญเสียปีสุขภาวะ (disability adjusted life year) ในกลุ่มผู้สูงอายุ...

กรกฎาคม - กันยายน 2565
วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 38 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย ปีที่ 38 ฉบับที่ 3

วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย

- ยา Armodafinil ในการรักษาภาวะนอนเกิน - ความสัมพันธ์ของ Alberta Stroke Program Early CT-Score (ASPECTS) กับการพยากรณ์ประสิทธิผล การรักษาโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเฉียบพลันชนิด Middle Cerebral Artery ด้วยยาละลายลิ่มเลือด Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) ทางหลอดเลือดดำ ที่โรงพยาบาลอุดรธานี - Related Factors of Recurrent Stroke among Stroke Patients in Rajavithi Hospital - COVID-19-Associated Acute Dissiminated Encephalomyelitis (ADEM) - ผลงานวิจัยของแพทย์ต่อยอดและแพทย์ประจำบ้าน สาขาประสาทวิทยา นำเสนอในการประชุมวิชาการ ประจำ ปี 2565 ครั้งที่ 62 วันที่ 2-4 มีนาคม 2565

กรกฎาคม - กันยายน 2565 ISSN 2228 - 9801
Effectiveness of Intravenous Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) for Acute Ischemic Stroke in Udonthani Hospital versus Node-rtPA Community Hospitals
Original Article

Effectiveness of Intravenous Recombinant Tissue Plasminogen Activator (rtPA) for Acute Ischemic Stroke in Udonthani Hospital versus Node-rtPA Community Hospitals

Satrirat Jantasri,Somsak Tiamkao,Prapassara Sirikarn

โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ สำคัญ โดยเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ในกลุ่ม ผู้สูงอายุ รองจากโรคหลอดเลือดหัวใจ1 ในผู้ป่วยที่รอด ชีวิตจะมีความพิการระยะยาว จึงเป็นสาเหตุสำคัญของ การสูญเสียปีสุขภาวะ (disability adjusted life year) ใน กลุ่มผู้สูงอายุ2 การรกั ษาผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมองขาด เลือดเฉียบพลัน (acute ischemic stroke) คือ การให้ยา ละลายลิ่มเลือด (thrombolytic agent) เพื่อให้เลือดกลับ ไปเลี้ยงสมองส่วนที่ขาดเลือด (reperfusion of cerebral blood flow) ให้เร็วที่สุด

มกราคม - มีนาคม 2564